แปลไทยเป็นมคธ
ประโยค ป.ธ.๔
พระธรรมบทภาคที่ ๑

๘.เรื่องสญชัย
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเวฬวัน
ทรงปรารภความไม่มาของสญชัย(ปริพาชก) ซึ่ง ๒
พระอัครสาวกกราบทูลแล้ว ตรัสพระธรรมเทศนานี้
ว่า “อสาเร สารมติโน” เป็นต้น
อนุปุพพีกถา ในเรื่องสญชัยนั้น ดังต่อไปนี้

 

 

๘.สญชย วตฺถุ
“อาสเร สารมติโนติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา
เวฬุวเน วิหรนฺโต ทฺวีหิ อคฺคสาวเกหิ นิเวทิตํ
สญฺชยสฺส อนาคมนํ อารพฺภ กเถสิ. ตตฺรายํ
อนุปุพฺพีกถา :

 

     

ความพิสดารว่า ในที่สุด ๔ อสงไขย
ยิ่งด้วยแสนกัลป์แต่กัลป์นี้ไป
พระศาสดาของเราทั้งหลาย
เป็นกุมารของพราหมณ์นามว่าสุเมธะ ในอมรวดีนคร
ถึงความสำเร็จศิลปะทุกอย่างแล้ว
โดยกาลล่วงไปแห่งมารดาและบิดา
ทรงบริจาคทรัพย์นับได้หลายโกฏิ
บวชเป็นฤษีอยู่ในหิมวันตประเทศ
ทำฌานและอภิญญาให้เกิดแล้ว
ไปโดยอากาศเห็นคนถางทางอยู่เพื่อประโยชน์
เสด็จ (ออก) จากสุทัศนวิหาร เข้าสู่อมดีนคร
แห่งพระทศพลทรงพระนามว่าทีปังกร
แม้ตนเองก็ถือเอาประเทศแห่งหนึ่ง,

 

อมฺหากํ หิ สตฺถา อิโต กปฺปสตสหสฺสาธิกานํ
จตุนฺนํ อสงฺเขยฺยานํ มตฺถเก อมรวตีนคเร
สุเมโธ นาม พฺราหฺมณกุมาโร หุตฺวา
สพฺพสิปฺปานํ นิปฺผตฺตึ ปตฺโต มาตาปิตูนํ
อจฺจเยน อเนกโกฏิสงฺขฺยํ ธนํ ปริจฺจชิตฺวา
อิสิปพฺพชฺชํ ปพฺพชิตฺวา หิมวนฺเต วสนฺโต
ฌานาภิญฺญาโย นิพฺพตฺเตตฺวา อากาเสน
คจฺฉนฺโต ทีปงฺกรทสพลสฺส สุทสฺสนวิหารโต
อมรวตีนครํ ปวิสนตฺถาย มคฺคํ โสธิยมานํ ทิสฺวา
สยํปิ เอกํ ปเทสํ คเหตฺวา,

 

 

     
     


เสียงอ่านธรรมะ
พุทธรักษา