บทสวดมนต์

วิธีแสดงอาบัติ

(พรรษาอ่อนว่า) สัพพา ตา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปัตติโย
อาปัชชิง ตา ตุม๎หะ มูเล ปะฏิเทเสมิ

( พรรษาแก่ว่า) ปัสสะสิ อาวุโส ตา อาปัตติโย

( พรรษาอ่อนว่า) อุกาสะ อามะ ภันเต ปัสสามิ

( พรรษาแก่ว่า) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ

( พรรษาอ่อนว่า) สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ
ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ
ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ
นะ ปุเนวัง กะริสสามิ
นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ
นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ

( พรรษาแก่ว่า) สัพพา ตา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ ( ว่า ๓ หน)
อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปัตติโย
อาปัชชิง ตา ตุย๎หะ มูเล ปะฏิเทเสมิ

( พรรษาอ่อนว่า) อุกาสะ ปัสสะถะ ภันเต ตา อาปัตติโย

( พรรษาแก่ว่า) อามะ อาวุโส ปัสสามิ

( พรรษาอ่อนว่า) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ

(พรรษาแก่ว่า) สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ
ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ
ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ
นะ ปุเนวัง กะริสสามิ
นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ
นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ ฯ

วิธีแสดงอาบัติ (ปลงอาบัติ) แปล

(พรรษาอ่อนว่า)   สัพพาตา อาปัตติโย อาโรเจมิ   ( ๓ หน)
- ขอแจ้งให้ทราบว่า ข้าพเจ้าต้องอาบัติหลายตัว.

สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ
 ( ๓ หน)
- อาบัติเหล่านั้น เป็นอาบัติหนักเบา หลายตัว.

อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปัตติโย
อาปัชชิงตา ตุม๎หะ มูเลปะฏิเทเสมิ
,
- ข้าพเจ้าต้องอาบัติหลายตัว ต่างวัตถุกัน   ข้าพเจ้าขอแสดงอาบัตินั้น.

(พรรษาแก่ว่า)   ปัสสะสิ อาวุโส ตา อาปัตติโย ,
- เธอเห็น อาบัตินั้น หรือ ?

(พรรษาอ่อนว่า)   อุกาสะ อามะ ภันเต ปัสสามิ ,
- ใช่! ข้าพเจ้าเห็น.

(พรรษาแก่ว่า)   อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ ,
- เธอพึงสำรวมระวังต่อไป.

(พรรษาอ่อนว่า)   สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ ,
- ดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.

ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ
,
- แม้วาระที่สองดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.

ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ
,
- แม้วาระที่สามดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.

นะ ปุเนวัง กะริสสามิ
,
- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมกายไว้ด้วยดี.

นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ
,
-นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมวาจาไว้ด้วยดี.

นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ.

- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมใจไว้ด้วยดี.

(พรรษาแก่ว่า)   สัพพาตา อาปัตติโย อาโรเจมิ  ( ว่า ๓ หน)
- ขอแจ้งให้ทราบว่า ข้าพเจ้าต้องอาบัติหลายตัว.

สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ
 ( ว่า ๓ หน)
- อาบัติเหล่านั้น เป็นอาบัติหนักเบา หลายตัว.

อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย

อาปัตติโย อาปัชชิงตา ตุย๎หะ มูเลปะฏิเทเสมิ ,
- ข้าพเจ้าต้องอาบัติหลายตัว ต่างวัตถุกัน , ข้าพเจ้าขอแสดงอาบัตินั้น.

(พรรษาอ่อนว่า)   อุกาสะ ปัสสะถะ ภันเต ตา อาปัตติโย  
- เธอเห็น อาบัตินั้น หรือ ?

(พรรษาแก่ว่า)   อามะ อาวุโส ปัสสามิ ,
- ใช่! ข้าพเจ้าเห็น.

(พรรษาอ่อนว่า)   อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ ,
- เธอพึงสำรวมระวังต่อไป.

(พรรษาแก่ว่า)   สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ ,
- ดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.

ทุติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ
,
- แม้วาระที่สองดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.

ตะติยัมปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ
,
- แม้วาระที่สามดีแล้วท่าน! ข้าพเจ้าจะสำรวมไว้ด้วยดี.

นะ ปุเนวัง กะริสสามิ
,
- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมกายไว้ด้วยดี.

นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ
,
- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมวาจาไว้ด้วยดี.

นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ.

- นับตั้งแต่นี้ต่อไป ข้าพเจ้าจักสำรวมใจไว้ด้วยดี.

กิจวัตร ๑๐ อย่าง
๑. ลงอุโบสถ
๒. บิณฑบาตเลี้ยงชีพ
๓. สวดมนต์ไหว้พระ
๔. กวาดอาวาสวิหารลานพระเจดีย์
๕. รักษาผ้าครอง
๖. อยู่ปริวาสกรรม
๗. โกนผมปลงหนวดตัดเล็บ
๘. ศึกษาสิกขาบทและปฏิบัติพระอาจารย์
๙. เทศนาบัติ
๑๐. พิจารณาปัจจเวกขณะทั้ง ๔ เป็นต้น

กิจวัตร ๑๐ เหล่านี้เป็นกิจใหญ่ควรที่ภิกษุจะต้องศึกษาให้ทราบความชัด
และจำไว้เพื่อปฏิบัติสมควรแก่สมณสารูปแห่งตน ฯ



คำทินทุผ้า คำอธิษฐาน คำเสียสละผ้า คำคืนผ้า เนื้อต้องห้าม
คำขอขมา คำวิกัปป์ผ้า คำอนุโมทนากฐิน คำลาสิกขา คำแสดงตนเป็นอุบาสก
อนุโมทนาวิธี วิธีแสดงอาบัติ คำสัตตาหะ คำสมาทานธุดงค์ ๑๓ ข้อ บทสวดสติปัฏฐาน๔
อนุโมทนาวิธี แปล บทขัดสิกขาสามเณร เจริญพระพุทธมนต์ พระภิกขุปาฏิโมกข์ บทพิจารณาสังขาร
ถวายพรพระ ตังขณิกปัจจเวกขณปาฐะ บทสวดพุทธมนต์ คำสมาทานพระกรรมฐาน ปฏิทินวันพระ
กรวดน้ำตอนเย็น อะตีตะปัจจะเวกขะณะ พระสังคีณี คำปวารณาออกพรรษา หลวงปู่คำพันธ์


เสียงอ่านธรรมะ


 กลับสู่หน้าหลัก