อนุโมทนาวิธี

( ผู้เป็นประธานเริ่มต้น )
ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง
เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ
อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา จันโท ปัณณะระโส ยะถา
มะณิ โชติระโส ยะถา ฯ

( รับพร้อมกัน )
สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ
มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ
สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ
มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ
สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ
มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ ฯ
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง ฯ

มงคลจักรวาฬน้อย
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆา-
นุภาเวนะ พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง
ติณณัง ระตะนานัง อานุภาเวนะ จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ
ปิฏะกัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกานุภาเวนะ สัพเพ เต โรคา
สัพเพ เต ภะยา สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต อุปัททะวา
สัพเพ เต ทุนนิมิตตา สัพเพ เต อะวะมังคะลา วินัสสันตุ
อายุวัฑฒะโก ธะนะวัฑฒะโก สิริวัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก
พะละวัฑฒะโก วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะทา ฯ

ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปัททะวา
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ จะ เตชะสา
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถิ ภาค๎ยัง สุขัง พะลัง
สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา
สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต ฯ

มงคลจักรวาฬน้อย ( ย่อ)
ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเตชะสา
ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปัททะวา
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถิ ภาค๎ยัง สุขัง พะลัง
สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา
สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต ฯ

กาละทานะสุตตะคาถา
กาเล ทะทันติ สะปัญญา วะทัญญู วีตะมัจฉะรา
กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ อุชุภูเตสุ ตาทิสุ
วิปปะสันนะมะนา ตัสสะ วิปุลา โหติ ทักขิณา
เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา
นะ เตนะ ทักขิณา โอนา เตปิ ปุญญัสสะ ภาคิโน
ตัส๎มา ทะเท อัปปะฏิวานะจิตโต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง
ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินันติ ฯ

อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา
อัคคะโต เว ปะสันนานัง อัคคัง ธัมมัง วิชานะตัง
อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง ทักขิเณยเย อะนุตตะเร
อัคเค ธัมเม ปะสันนานัง วิราคูปะสะเม สุเข
อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร
อัคคัส๎มิง ทานัง ทะทะตัง อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ
อัคคัง อายุ จะ วัณโณ จะ ยะโส กิตติ สุขัง พะลัง
อัคคัสสะ ทาตา เมธาวี อัคคะธัมมะสะมาหิโต
เทวะภูโต มะนุสโส วา อัคคัปปัตโต ปะโมทะตีติ ฯ

อาฏานาฏิยะปะริตตัง ( ย่อ)
สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะสันตาปะวัชชิโต
สัพพะเวระมะติกกันโต นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ ฯ
สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ
มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง ฯ

โภชะนะทานานุโมทะนาคาถา
อายุโท พะละโท ธีโร วัณณะโท ปะฏิภาณะโท
สุขัสสะ ทาตา เมธาวี สุขัง โส อะธิคัจฉะติ
อายุง ทัต๎วา พะลัง วัณณัง สุขัญจะ ปะฏิภาณะโท
ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถูปะปัชชะตีติ ฯ

ติโรกุฑฑะกัณฑะปัจฉิมภาค
อะทาสิ เม อะกาสิ เม ญาติมิตตา สะขา จะ เม
เปตานัง ทักขิณัง ทัชชา ปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง
นะ หิ รุณณัง วา โสโก วา ยา วัญญา ปะริเทวะนา
นะ ตัง เปตานะมัตถายะ เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย
อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา
ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อุปะกัปปะติ
โส ญาติธัมโม จะ อะยัง นิทัสสิโต
เปตานะ ปูชา จะ กะตา อุฬารา
พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง
ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ ฯ

เทวะตาทิสสะทักขิณานุโมทะนาคาถา
ยัสมิง ปะเทเส กัปเปติ วาสัง ปัณฑิตะชาติโย
สีละวันเตตถะ โภเชตวา สัญญะเต พรัหมะจาริโน
ยา ตัตถะ เทวะตา อาสุง ตาสัง ทักขิณะมาทิเส
ตา ปูชิตา ปูชะยันติ มานิตา มานะยันติ นัง
ตะโต นัง อะนุกัมปันติ มาตา ปุตตังวะ โอระสัง
เทวะตานุกัมปิโต โปโส สะทา ภัทรานิ ปัสสะติ ฯ

เทวะตาภิสัมมันตะนะคาถา
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลิกเข
สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ
อะโถปิ สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง
สุภาสิตัง กิญจิปิ โว ภะเณมุ
ปุญเญ สะตุปปาทะกะรัง อะปาปัง
ธัมมูปะเทสัง อะนุการะกานัง
ตัสมา หิ ภูตานิ สะเมนตุ สัพเพ
เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ
ภูเตสุ พาฬหัง กะตะภัตติกายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง
ปัจโจปะการัง อะภิกังขะมานา
เต โข มะนุสสา ตะนุกานุภาวา
ภูตา วิเสเสนะ มะหิทธิกา จะ
อะทิสสะมานา มะนุเชหิ ญาตา
ตัสมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ

อาทิยะสุตตะคาถา
ภุตตา โภคา ภัจจา วิติณณา อาปะทาสุ เม
อุทธัคคา ทักขิณา ทินนา อะโถ ปัญจะ พะลี กะตา
อุปัฏฐิตา สีละวันโต สัญญะตา พรัหมะจาริโน
ยะทัตถัง โภคะมิจเฉยยะ ปัณฑิโต ฆะระมาวะสัง
โส เม อัตโถ อะนุปปัตโต กะตัง อะนะนุตาปิยัง
เอตัง อะนุสสะรัง มัจโจ อะริยะธัมเม ฐิโต นะโร
อิเธวะ นัง ปะสังสันติ เปจจะ สัคเค ปะโมทะตีติ ฯ

วิหาระทานะคาถา
สีตัง อุณหัง ปะฏิหันติ ตะโต วาฬะมิคานิ จะ
สิริงสะเป จะ มะกะเส สิสิเร จาปิ วุฏฐิโย
ตะโต วาตาตะโป โฆโร สัญชาโต ปะฏิหัญญะติ
เลนัตถัญจะ สุขัตถัญจะ ฌายิตุง จะ วิปัสสิตุง
วิหาระทานัง สังฆัสสะ อัคคัง พุทเธหิ วัณณิตัง
ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน
วิหาเร การะเย รัมเม วาสะเยตถะ พะหุสสุเต
เตสัง อันนัญจะ ปานัญจะ วัตถะเสนสะนานิ จะ
ทะเทยยะ อุชุภูเตสุ วิปปะสันเนนะ เจตะสา
เต ตัสสะ ธัมมัง เทเสนติ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
ยัง โส ธัมมะมิธัญญายะ ปะรินิพพาตยะนาสะโวติ ฯ

บทสวด ภะวะตุ สัพ ฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ

บทกรวดน้ำ อิมินา

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา,
อาจะริยูปะการา จะ มาตา ปิตา จะ ญาตะกา,
สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ,
พ๎รัห๎มะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา,
ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ,
สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม,
สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โวมะตัง,

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ,
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง,
เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง,
นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว,
อุชุจิตตัง สะติปัญญา สัลเลโข วิริยัมหินา,
มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วิริเยสุ เม,
พุทธาทิปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม,
นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง,
เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา,
ทะสะปุญญานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ

อนุโมทนาวิธี แปล


มูลเหตุ ที่มา ภัตตานุโมทนา

[ ๔๒๐] สมัยนั้น ภิกษุทั้งหลายไม่อนุโมทนาในโรงฉัน คนทั้งหลาย จึงเพ่งโทษ ติเตียน
โพนทะนาว่า ไฉน พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ ไม่อนุโมทนาในโรงฉัน ภิกษุทั้งหลาย
ได้ยินคนพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุ
แรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรา อนุญาตให้อนุโมทนาในโรงฉัน ฯ

[ ๔๒๑] ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายคิดว่า ใครหนอพึงอนุโมทนาในโรงฉัน แล้วจึงกราบทูล เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรก
เกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายเราอนุญาตให้ภิกษุผู้เถระอนุโมทนาในโรงฉัน ฯ

[ ๔๒๒] สมัยนั้น ประชาชนหมู่หนึ่งถวายภัตรแก่พระสงฆ์ ท่านพระ สารีบุตรเป็น
สังฆเถระ ภิกษุทั้งหลายคิดว่า พระผู้มีพระภาคทรงอนุญาตให้ภิกษุ ผู้เถระอนุโมทนาในโรงฉัน
จึงเหลือท่านพระสารีบุตรไว้รูปเดียว แล้วพากัน กลับไป

ลำดับนั้น ท่านพระสารีบุตรแสดงความยินดีกะคนเหล่านั้น แล้วได้ไป ทีหลังรูปเดียว
พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นท่านพระสารีบุตรเดินมาแต่ไกลรูป เดียว จึงรับสั่ง
ถามว่า ดูกรสารีบุตร ภัตรมีมากมายกระมัง

ท่านพระสารีบุตรทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ภัตรมีมากมาย แต่ภิกษุทั้งหลาย ละข้าพระพุทธ
เจ้าไว้ผู้เดียว แล้วพากันกลับไป

ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุ
แรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรา อนุญาตให้ภิกษุเถรานุเถระ
๔- ๕ รูปรออยู่ในโรงฉัน ฯ

[ ๔๒๓] สมัยต่อมา พระเถระรูปหนึ่งปวดอุจจาระรออยู่ในโรงฉัน เธอ กลั้นอุจจาระอยู่
จนสลบล้มลง ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคๆรับสั่งว่า

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อมีกรณียกิจ เราอนุญาตให้บอกลาภิกษุผู้นั่งอยู่ในลำดับ แล้วไปได้ ฯ

พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ ( ภาษาไทย) เล่มที่ ๗
พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒
หน้าที่ ๑๔๙ -๑๕๐ หัวข้อที่ ๔๒๐ - ๔๒๓


บทสวดอนุโมทนากถาที่มีที่มาจากในพระสูตร

บทสวดในพระสูตรที่พระสงฆ์นิยมนำมาสวดต่อจากบทสามัญญานุโมทนากถา

กาลทานสุตฺตกถา  ( บทสวดที่ขึ้นต้นด้วย: กาเล ททนฺติ สปญฺญํ...)
บทสวดนี้พระสงฆ์นิยมสวดในงานทำบุญที่กำหนดตามกาล เช่น กฐิน , สลากภัต เป็นต้น

ติโรกุฑฺฑกัณฺฑปจฺฉิมกถา  ( บทสวดที่ขึ้นต้นด้วย: อทาสิ เม อกาสิ เม...)
บทสวดนี้พระสงฆ์นิยมสวดในงานศพ และงานทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย

อคฺคปฺปทานสุตฺตกถา  ( บทสวดที่ขึ้นต้นด้วย: อคฺคโต เว ปสนฺนานํ...)

โภชนทานานุโมทนกถา  ( บทสวดที่ขึ้นต้นด้วย: อายุโท พลโท ธีโร...) ,
บทสวดนี้พระสงฆ์นิยมสวดหลังฉันอาหารบิณฑบาตทั่วไป

อาฏานาฏิยปริตฺตํ  ( บทสวดที่ขึ้นต้นด้วย: สพฺพโรควินิตฺมุตฺโต...)
บทนี้พระสงฆ์นิยมสวดหลังฉันอาหารบิณฑบาตทั่วไป โดยไม่ต้องขึ้นอนุโมทนารัมภาสามัญญานุโมทนกถา

เทวตาทิสฺสทกฺขิณานุโมทนกถา  ( บทสวดที่ขึ้นต้นด้วย: ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ...)

อาทิยสุตฺตกถา  ( บทสวดที่ขึ้นต้นด้วย: ภุตฺตา โภคา ภฏา ภจฺจา...)

วิหารทานกถา  ( บทสวดที่ขึ้นต้นด้วย: สีตํ อุณฺหํ ปฏิหนฺติ...)

บทสวดนี้พระสงฆ์นิยมสวดหลังในงานถวายอาคารเป็นสาธารณะทานหรือถวายแก่สงฆ์



บทจุลลไชยปกรณ์ ตำนานพระปริตร บทสวดปฏิจจสมุปบาท บทสวดสติปัฏฐาน๔ ประวัติพุทธสาวก
คำลากลับบ้าน บทปัพพโตปมคาถา บทเขมาเขมสรณทีปกคาถา คำสมาทนากรรมฐาน บทภารสุตตคาถา
บทปัจฉิมพุทโธวาท ติลักขณาทิคาถา บทสวดถวายพระพร โอวาทก่อนปรินิพพาน หลวงปู่คำพันธ์
ปฏิทินวันพระ มงคลปริตร คำปวารณาออกพรรษา คำอาราธนาธรรม เสียงพระพุทธประวัติ
ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ วันออกพรรษา คำไหว้พระเจ้า ๑๐ ชาติ พระสังคีณี คาถากำลังวัน
คาถาบารมี ๓๐ ทัศ พระเจ้าพิมพิสาร ประวัติพระธาตุพนม รัตนปริตร ศิลปะพระธาตุพนม
บทพิจารณาสังขาร        


 กลับสู่หน้าหลัก