บทสวดพระพุทธมนต์

ปัพพะโตปะมะคาถา
ยะถาปิ เสลา วิปุลา นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา
สะมันตา อะนุปะริเยยยุง นิปโปเถนตา จะตุททิสา
เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ อะธิวัตตันติ ปาณิโน
ขัตติเย พ๎ราห๎มะเณ เวสเส สุทเท จัณฑาละปุกกุเส
นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ สัพพะเมวาภิมัททะติ
นะ ตัตถะ หัตถีนัง ภูมิ นะ ระถานัง นะ ปัตติยา
นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ สักกา เชตุง ธะเนนะ วา
ตัส๎มา หิ ปัณฑิโต โปโส สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน
พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ธีโร สัทธัง นิเวสะเย
โย ธัมมะจารี กาเยนะ วาจายะ อุทะ เจตะสา
อิเธวะ นัง ปะสังสันติ เปจจะ สัคเค ปะโมทะติ ฯ

อะริยะธะนะคาถา
ยัสสะ สัทธา ตะถาคะเต อะจะลา สุปะติฏฐิตา
สีลัญจะ ยัสสะ กัล๎ยาณัง อะริยะกันตัง ปะสังสิตัง
สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อุชุภูตัญจะ ทัสสะนัง
อะทะลิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆันตัสสะ ชีวิตัง
ตัส๎มา สัทธัญจะ สีลัญจะ ปะสาทัง ธัมมะทัสสะนัง
อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรัง พุทธานะ สาสะนันติ ฯ

บทขัดธรรมนิยามสูตร
ยัง เว นิพพานะญาณัสสะ ญาณัง ปุพเพ ปะวัตตะเต
ตัสเสวะ วิสะยีภูตา ยายัง ธัมมะนิยามะตา
อะนิจจะตา ทุกขะตา จะ สัพเพสัง จะ อะนัตตะตา
ตัสสา ปะกาสะกัง สุตตัง ยัง สัมพุทเธนะ ภาสิตัง
สาธูนัง ญาณะจาเรนะ ยะถา พุทเธนะ เทสิตัง
โยนิโส ปะฏิปัต๎ยัตถัง ตัง สุตตันตัง ภะณามะ เสฯ

ธัมมะนิยามะสุตตัง
เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ
เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ ตัต๎ระ โข ภะคะวา
ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต
ปัจจัสโสสุง ฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะ

อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา
ตะถาคะตานัง ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา
ธัมมะนิยามะตา สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ฯ ตัง ตะถาคะโต
อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา
อาจิกขะติ เทเสติ ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ วิวะระติ วิภะชะติ
อุตตานีกะโรติ สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ฯ

อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา
ตะถาคะตานัง ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา
ธัมมะนิยามะตา สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ฯ ตัง ตะถาคะโต
อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ อะภิสัมพุชฌิต๎วา
อะภิสะเมต๎วา อาจิกขะติ เทเสติ ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ
วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ฯ

อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา
ตะถาคะตานัง ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา
ธัมมะนิยามะตา สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ฯ ตัง ตะถาคะโต
อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ อะภิสัมพุชฌิต๎วา

อะภิสะเมต๎วา อาจิกขะติ เทเสติ ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ
วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ฯ
อิทะมะโว จะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต
ภาสิตัง อะภินันทุนติ ฯ

ติลักขะณาทิคาถา
สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา
สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา

อัปปะกา เต มะนุสเสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน
อะถายัง อิตะรา ปะชา ตีระเมวานุธาวะติ
เย จะ โข สัมมะทักขาเต ธัมเม ธัมมานุวัตติโน
เต ชะนา ปาระเมสสันติ มัจจุเธยยัง สุทุตตะรัง
กัณหัง ธัมมัง วิปปะหายะ สุกกัง ภาเวถะ ปัณฑิโต
โอกา อะโนกะมาคัมมะ วิเวเก ยัตถะ ทูระมัง
ตัต๎ราภิระติมิจเฉยยะ หิต๎วา กาเม อะกิญจะโน
ปะริโยทะเปยยะ อัตตานัง จิตตั ก๎ เลเสหิ ปัณฑิโต
เยสัง สัมโพธิยังเคสุ สัมมา จิตตัง สุภาวิตัง
อาทานะปะฏินิสสัคเค อะนุปาทายะ เย ระตา
ขีณาสะวา ชุติมันโต เต โลเก ปะรินิพพุตาติ ฯ

ปะฏิจจะสะมุปปาทะปาฐะ
อะวิชชาปัจจะยา สังขารา สังขาระปัจจะยา วิญญาณัง
วิญญาณะปัจจะยา นามะรูปัง นามะรูปะ ปัจจะยา
สะฬายะตะนัง สะฬายะตะนะปัจจะยา ผัสโส ผัสสะปัจจะยา
เวทะนา เวทะนาปัจจะยา ตัณหา ตัณหาปัจจะยา อุ
ปาทานัง อุปาทานะปัจจะยา ภะโว ภะวะปัจจะยา ชาติ
ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง โสกะ ปะริเทวะทุกขะ-
โทมะนัสสุปายาสา สัมภะวันติฯ เอวะเมตัสสะ
เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ สะมุทะโย โหติ ฯ

อะวิชชายะเต๎ววะ อะเสสะวิราคะนิโรธา สังขาระนิโรโธ
สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ วิญญาณะนิโรธา
นามะรูปะนิโรโธ นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ
สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ ผัสสะนิโรธา
เวทะนานิโรโธ เวทะนานิโรธา ตัณหานิโรโธ ตัณหานิโรธา
อุปาทานะนิโรโธ อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ
ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ ชาตินิโรธา ชะรามะระณัง
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสานิรุชฌันติ ฯ
เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ นิโรโธ โหติ ฯ

พุทธะอุทานะคาถา
ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา
อาตาปิโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ
อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา
ยะโต ปะชานาติ สะเหตุธัมมัง ฯ
ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา
อาตาปิโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ
อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา
ยะโต ขะยัง ปัจจะยานัง อะเวทิ ฯ
ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา
อาตาปิโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ
วิธูปะยัง ติฏฐะติ มาระเสนัง
สูโรวะ โอภาสะยะมันตะลิกขันติ ฯ

ภัทเทกะรัตตะคาถา
อะตีตัง นานวาคะเมยยะ นัปปะฏิกังเข อะนาคะตัง
ยะทะตีตัมปะหีนันตัง อัปปัตตัญจะ อะนาคะตัง
ปัจจุปปันนัญจะ โย ธัมมัง ตัตถะ ตัตถะ วิปัสสะติ
อะสังหิรัง อะสังกุปปัง ตัง วิทธา มะนุ พ๎ รูหะเย
อัชเชวะ กิจจะมาตัปปัง โก ชัญญา มะระณัง สุเว
นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา
เอวัง วิหาริมาตาปิง อะโหรัตตะมะตันทิตัง
ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ สันโต อาจิกขะเต มุนีติ ฯ

ปฐมพุทธะวะจะนะ
อะเนกะชาติสังสารัง สันธาวิสสัง อะนิพพิสัง
คะหะการัง คะเวสันโต ทุกขา ชาติ ปุนัปปุนัง
คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะ เคหัง นะ กาหะสิ
สัพพา เต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏัง วิสังขะตัง
วิสังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคาติฯ

อภิธัมมนิทาน
กะรุณา วิยะ สัตเตสุ ปัญญายัสสะ มะเหสิโน
เญยยะธัมเมสุ สัพเพสุ ปะวัตติตถะ ยะถารุจิง
ทะยายะ ตายะ สัตเตสุ สะมุสสาหิตะมานะโส
ปาฏิเหราวะสานัมหิ วะสันโต ติทะสาละเย
ปาริจฉัตตะกะมูลัมหิ ปัณฑุกัมพะละนามะเก
สิลาสะเน สันนิสินโน อาทิจโจวะ ยุคันธะเร
จักกะวาฬะสะหัสเสหิ ทะสะหาคัมมะ สัพพะโส
สันนิสินเนนะ เทวานัง คะเณนะ ปะริวาริโต
มาตะรัง ปะมุขัง กัต๎วา ตัสสา ปัญญายะ เตชะสา
อะภิธัมมะกะถัง มัคคัง เทวานัง สัมปะวัตตะยิ
ตัสสะ ปาเท นะมัสสิต๎วา สัมพุทธัสสะ สิรีมะโต
สัทธัมมัญจัสสะ ปูเชต๎วา กัต๎วา สังฆัสสะ จัญชะลิง
นิปัจจะการัสเส ตัสสะ กะตัสสะ ระตะนัตตะเย
อานุภาเวนะ โสเสต๎วา อันตะราเย อะเสสะโต
อิติ เม ภาสะมานัสสะ อะภิธัมมะกะถัง อิมัง
อะวิกขิต๎วา นิสาเมถะ ทุลละภา หิ อะยัง กะถาฯ

เอกัง สะมะยัง ภะคะวา เทเวสุ วิหะระติ ตาวะติงเสสุ
ปาริจฉัตตะกะมูลัมหิ ปัณฑุกัมพะละสิลายัง
ตัต๎ระ โข ภะคะเว เทวานัง ตาวะติงสานัง อะภิธัมมะกะถัง กะเถสิ
จิตตะวิภัตติรูปัญจะ นิกเขโป อัตถะโชตะนา
คัมภีรัง นิปุณัง ฐานัง ตัมปิ พุทเธนะ เทสิตังฯ

ทำบุญงานอวมงคล
การทำบุญงานอวมงคล หมายถึงการทำบุญเกี่ยวกับเรื่องการตาย มี ๒ อย่าง คือ:-
๑. งานทำบุญหน้าศพ ที่เรียกว่า " ทำบุญ ๗ วัน" . . . ๕๐ วัน . . . ๑๐ วัน หรือ ทำบุญหน้าวันปลงศพ.
๒. งานทำบุญอัฐิ ที่ปรารภบรรพบุรุษ หรือผู้ใดผู้หนึ่งที่ล่วงลับ ไปแล้ว เป็นงานประจำปี
เช่นวันสงกรานต์ ( เดือน ๕), วันสารท ( เดือน ๑๐) หรือวันคล้ายกับวันตายของผู้นั้น ๆ.

. งานทำบุญหน้าศพ
พิธีฝ่ายเจ้าภาพ ต้องเตรียมการต่าง ๆ ส่วนใหญ่คล้ายกับงาน ทำบุญมงคล แต่มีข้อแตกต่าง คือ :-

๑. อาราธนาพระสงฆ์สวด พระพุทธมนต์ นิยมคู่ คือ ๘ รูป ๑๐ รูป เป็นต้น แล้วแต่กรณี. ใช้คำอาราธนาว่า "
ขออาราธนาสวด พระพุทธมนต์ " ( งานมงคลใช้คำว่า " ขออาราธนาเจริญ พระพุทธมนต์")

๒. ไม่ตั้งภาชนะน้ำพุทธมนต์ ไม่วงสายสิญจน์ คือไม่ต้องทำ น้ำ พระพุทธมนต์ .

๓. เตรียมสายโยงหรือภูษาโยงต่อจากศพไว้ สายโยง คือด้าย สายสิญจน์นั่นเอง . ภูษาโยงคือแผ่นผ้า
กว้างประมาณ ๔ นิ้ว ยาวให้พอ ตั้งแต่พระองคืต้นแถว ถึงองค์ปลายแถว และต้องมีสายโยงจากศพมา
เชื่อมกับภูษาโยงอีก , ระวังการเดินสายโยง อย่าให้สู่กว่าพระพุทธรูปใน พิธี และอย่างให้ต่ำกว่าที่คนนั่ง
อย่าข้ามสายโยงหรือภูษาโยง เพราะต่อ เนื่องด้วยศพ สำหรับพระจับบังสุกุล.

การปฏิบัติกิจในพิธี
เมื่อพระสงฆ์ประจำที่พร้อมแล้ว เจ้าภาพ จุดธูปเทียนที่บูชาพระพุทธรูปก่อน
จุดธูปเทียนที่หน้าศพภายหลัง. ( แต่บางท่านว่า จุดที่หน้าศพก่อน จุดที่หน้าพระทีหลัง
ถ้ามีการเลี้ยงพระด้วย พอพระฉันเสร็จ เจ้าภาพถวายไทยธรรมแล้ว คลี่สายโยง ถ้ามีผ้าสบง จีวร เป็นต้น
ก็ทอดลงบนสายโยง แล้วนั่ง ประจำที่ พอพระซักบังสุกุล ก็ประนมมือไหว้. เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนา
ก็กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศล
ให้ผู้ตายต่อไป .

พิธีฝ่ายพระสงฆ์
เตรียมตัวและปฏิบัติการส่วนใหญ่ก็เหมือนงาน ทำบุญมงคล แต่มีข้อแตกต่าง คือ :-

๑. ใช้พัดที่เกี่ยวกับงานศพ. ( ถ้าไม่มี ( จะใช้พัดงานอื่นก็ได้).

๒. ทำบุญงานศพ ๗ วัน สวดอนัตตลักขณสูตร. ๕๐ วัน สวด อาทิตตปริยายสูต . ๑๐๐ วัน สวดธรรมนิยามสูตร.
นอกจาก ๗ วัน ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน สวดสูตรใดก็ได้ ( เว้นเจ็ดตำนาน, สินสองตำนาน, ธรรมจักร , มหาสมัย).

๓. ไม่ต้องขัด สมนฺตา. . . สคฺเค. . . มีลำดับสวดคือ :- นโม. . . พุทฺธํ . . . ยถาปิ เสลา . . .
( องค์ที่ ๓ ขัด ตั้งพัด ขัดบทขัดของสูตร ที่ต้องการ ) ทุกรูปสวดพระสูตรที่ต้องการ จบพระสูตรแล้ว
ต่อด้วย อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา. . . ยทา หเว. . . อตีตํ นานฺวาคเมยฺย. . . ถ้าสวดธรรมนิยามสูตร
จบแล้ว ต่อด้วย สพฺเพ สงฺขารา. . . แล้ว ต่อด้วย อวิชฺชา. . .

๔. ถ้างานวันเดียว มีเทศน์ด้วย เลี้ยงพระด้วย สวด อตีตํ นานฺวา คเมยฺย . . . จบแล้ว เทศน์ เทศน์จบแล้ว
สวดถวายพรพระ ( อิติปิ โส . . . พาหุํ. . . ชยนฺโต. . .) ภวตุ สพฺพมงฺคลํ. . .

๕. ถ้าเพียงแต่สวดมนต์ บังสุกุล รับไทยธรรมแล้ว อนุโมทนา้วยบท อทาสิ เม. . . ๖. การชักบังสุกุล
ต้องจักพัดมือซ้าย, จับสายโยงมือขวา สอด สี่นิ้วใต้สาย หัวแม่มือจับบนสาย, ถ้ามีผ้าทอดบนสายโยง
ก็จับผ้าโดย วิธีเดียวกัน . ลั่นวาจาว่า อนิจฺจ วต สงฺขารา. . .

. งานทำบุญอัฐิ

พิธีฝ่ายเจ้าภาพ พึงเตรียมงานส่วนใหญ่คล้ายกับงานทำบุญหน้าศพ. เพียงแต่ตั้งโกศอัฐิ หรือรูป
หรือชื่อของผู้ตายบนโต๊ะ ต่างหากจากโต๊ะ บูชาพระ จัดดอกไม้ประดับ ตั้งกระถางธูป เชิงเทียน ๑ คู่ หรือใช่
กระบะเครื่องห้าแทนกระถางธูปเชิงเทียนก็ได้ .

พิธีฝ่ายพระสงฆ์ ส่วนใหญ่ก็เช่นเดียวกับงานทำบุญหน้าศพ. เพียง แต่บทสวด นิยมสวด ธรรมนิยามสูตร
สติปัฏฐานปาฐะ เป็นต้น.


บทเจริญพระพุทธมนต์
บทชุมนุมเทวดา บทสวดนะมะการะสิทธิคาถา บทสวดสัมพุทเธ บทสวดนะโมการะอัฏฐะกะ
บทสวดมงคลสุตตัง บทสวดระตะนะสุตตัง บทสวดกะระณียะเมตตะสุตตัง บทสวดขันธะปะริตตะคาถา
บทสวดโมระปะริตตัง บทสวดวัฏฏะกะปะริตตัง บทสวดอาฏานาฏิยะปะริตตัง บทสวดโพชฌังคะปะริตตัง
บทสวดอะภะยะปะริตตัง บทสวดเทวะตาอุยโยชะนะคาถา บทสวดมงคลจักรวาฬใหญ่ คำอาราธนาพระปริตร
บทสวดอังคุลิมาละปะริตตัง      

บทสวดมนต์ต่างๆ
บทจุลลไชยปกรณ์ ตำนานพระปริตร บทสวดปฏิจจสมุปบาท บทสวดสติปัฏฐาน๔ ประวัติพุทธสาวก
คำลากลับบ้าน บทปัพพโตปมคาถา บทเขมาเขมสรณทีปกคาถา คำสมาทนากรรมฐาน บทภารสุตตคาถา
บทปัจฉิมพุทโธวาท ติลักขณาทิคาถา บทสวดถวายพระพร โอวาทก่อนปรินิพพาน หลวงปู่คำพันธ์
ปฏิทินวันพระ มงคลปริตร คำปวารณาออกพรรษา คำอาราธนาธรรม เสียงพระพุทธประวัติ
ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ วันออกพรรษา คำไหว้พระเจ้า ๑๐ ชาติ พระสังคีณี คาถากำลังวัน
คาถาบารมี ๓๐ ทัศ พระเจ้าพิมพิสาร ประวัติพระธาตุพนม รัตนปริตร ศิลปะพระธาตุพนม
บทพิจารณาสังขาร ประวัติวัดป่ามหาชัย คำอาราธนาศีล ๘    

เสียงอ่านธรรมะ

 กลับสู่หน้าหลัก