มหาสติปัฏฐานสูตร ฉบับ บาลีอักษรไทย(แปล)

นวสีวถิกาบรรพ

(นำ) หันทะ มะยัง นะวะสีวะถิกาปัพพะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ

(รับ) ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
- ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง
- ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ

สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง
- ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า

เอกาหะมะตัง วา ทะวีหะมะตัง วา ตีหะมะตัง วา
- ตายแล้ววันหนึ่งบ้าง สองวันบ้าง สามวันบ้าง

อุทธุมาตะกัง วินีละกัง วิปุพพะกะชาตัง
- ที่ขึ้นพองมีสีเขียว มีน้ำเหลืองไหลน่าเกลียด

โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ
- เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

อะยัมปิ โข กาโย
- ถึงร่างกายอันนี้เล่า

 เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ
- ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้น
ความเป็นอย่างนี้ไปได้

 อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
- อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ
- เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ
- เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้

นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ
- ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
- ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง
- ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ

สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง
- ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า

กาเกหิ วา ขัชชะมานัง
- อันฝูงกาจิกกินอยู่บ้าง

 คิชเฌหิ วา ขัชชะมานัง
- อันฝูงแร้งจิกกินอยู่บ้าง

กุละเลหิ วา ขัชชะมานัง
- อันฝูงนกตะกรุมจิกกินอยู่บ้าง

สุวาเณหิ วา ขัชชะมานัง
- อันหมู่สุนัขกัดกินอยู่บ้าง

สิงคาเลหิ วา ขัชชะมานัง
- อันหมู่สุนัขจิ้งจอกกัดกินอยู่บ้าง

วิวิเธหิ วา ปาณะกะชาเตหิ ขัชชะมานัง
- อันหมู่สัตว์ตัวเล็กตัวน้อยกัดกินอยู่บ้าง

โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ
- เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

อะยัมปิ โข กาโย
- ถึงร่างกายอันนี้เล่า

เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ
- ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้น
ความเป็นอย่างนี้ไปได้

อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
- อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ
- เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ
- เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้

นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ
- ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
- ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง
- ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ

สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง
- ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า

อัฏฐิสังขะลิกัง
- เป็นร่างกระดูก

สะมังสะโลหิตัง
- ยังมีเนื้อและเลือด

นะหารุสัมพันธัง
- ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่

 โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ
- เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

อะยัมปิ โข กาโย
- ถึงร่างกายอันนี้เล่า

เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ
- ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้

 อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
- อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ
- เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ
- เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้

นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ
- ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
- ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง
- ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ

 สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง
- ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า

อัฏฐิสังขะลิกัง
- เป็นร่างกระดูก

นิมมังสะโลหิตะมักขิตัง
- ปราศจากเนื้อ แต่ยังเปื้อนเลือดอยู่

นะหารุสัมพันธัง
- ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่

โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ
- เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

อะยัมปิ โข กาโย
- ถึงร่างกายอันนี้เล่า

เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ
- ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้

 อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
- อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ
- เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ
- เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้

นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ
- ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

  ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
- ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง
- ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ

สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง
- ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า

อัฏฐิสังขะลิกัง
- เป็นร่างกระดูก

อะปะคะตะมังสะโลหิตัง
- ปราศจากเนื้อและเลือดแล้ว

นะหารุสัมพันธัง
- ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่

โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ
- เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

 อะยัมปิ โข กาโย
- ถึงร่างกายอันนี้เล่า

เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ
- ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้

 อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
- อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ
- เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ
- เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้

นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ
- ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
- ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง
- ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ

สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง
- ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า

 อัฏฐิกานิ
- เป็นกระดูก

อะปะคะตะนะหารุสัมพันธานิ
- ปราศจากเส้นเอ็นผูกรัดแล้ว

ทิสาวิทิสา วิกขิตตานิ
- เรี่ยรายไปในทิศน้อยทิศใหญ่คือ

อัญเญนะ หัตถัฏฐิกัง อัญเญนะ ปาทัฏฐิกัง
- กระดูกมือไปทาง กระดูกเท้าไปทาง

อัญเญนะ ชังฆัฏฐิกัง อัญเญนะ อูรัฏฐิกัง
- กระดูกแข้งไปทาง กระดูกขาไปทาง

อัญเญนะ กะกิฏฐิกัง อัญเญนะ ปิฏฐิกัณฏะกัฏฐิกัง
- กระดูกสะเอวไปทาง กระดูกสันหลังไปทาง

อัญเญนะ ผาสุกัฏฐิกัง อัญเญนะ อุรัฏฐิกัง
- กระดูกซี่โครงไปทาง กระดูกหน้าอกไปทาง

อัญเญนะ พาหุฏฐิกัง อัญเญนะ อังสัฏฐิกัง
- กระดูกแขนไปทาง กระดูกไหล่ไปทาง

อัญเญนะ คีวัฏฐิกัง อัญเญนะ หะนุฏฐิกัง
- กระดูกคอไปทาง กระดูกคางไปทาง

อัญเญนะ ทันตัฏฐิกัง อัญเญนะ สีสะกะฏาหัง
- กระดูกฟันไปทาง กะโหลกศรีษะไปทาง

โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ
- เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

อะยัมปิ โข กาโย
- ถึงร่างกายอันนี้เล่า

เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ
- ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้

 อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
- อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ

- เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ
- เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้

นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ
- ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

  ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
- ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

 เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง
- ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ

สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง
- ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า

อัฏฐิกานิ เสตานิ สังขะวัณณุปะนิกานิ
- เป็นกระดูกมีสีขาวเปรียบด้วยสีสังข์

โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ
- เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

อะยัมปิ โข กาโย
- ถึงร่างกายอันนี้เล่า

เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ
- ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้

 อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
- อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ
- เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ
- เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้

นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ
- ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
- ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง
- ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ

สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง
- ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า

อัฏฐิกานิ ปุญชะกิตานิ เตโรวัสสิกานิ
- เป็นกระดูกกองเรี่ยรายอยู่ นานเกินปีหนึ่งขึ้นไป

โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ
- เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

อะยัมปิ โข กาโย
- ถึงร่างกายอันนี้เล่า

เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ
- ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้

 อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
- อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ
- เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ
- เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้

นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ
- ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

 ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ
- ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง

เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง
- ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ

สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง
- ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า

อัฏฐิกานิ ปูตีนิ จุณณะกะชาตานิ
- เป็นกระดูกผุเป็นจุณแล้ว

โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ
- เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า

อะยัมปิ โข กาโย
- ถึงร่างกายอันนี้เล่า

เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ
- ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้

อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง

พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง

อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง

สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง

วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง

สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ
- พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง

อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
- อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่

ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ
- เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

อะนิสสิโต จะ วิหะระติ
- เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้

นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ
- ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
- ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่

 

[ อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ
อานนท์ ! อารมณ์อันเป็นที่ชอบใจ-ไม่เป็นที่ชอบใจ
เป็นที่ชอบใจและไม่เป็นที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น
ย่อมดับไปเร็วเหมือนการกระพริบตาของคน อุเบกขายังคงดำรงอยู่

อานนท์ ! นี้แล เราเรียกว่า อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศในอริยวินัย...
อุปริ. ม. ๑๔/๕๔๑/๘๕๖ ]


สารบัญ บทสวดมหาสติปัฏฐานสูตร
คำนำ  
ประโยชน์ของการสาธยายธรรม ธัมมานุปัสสนา นิวรณบรรพ
บทนำ มหาสติปัฏฐานสูตร ธัมมานุปัสสนา ขันธบรรพ
กายานุปัสสนา อานาปานบรรพ ธัมมานุปัสสนา อายตนบรรพ
กายานุปัสสนา อิริยาบถบรรพ ธัมมานุปัสสนา โพชฌงคบรรพ
กายานุปัสสนา สัมปชัญญบรรพ ธัมมานุปัสสนา สัจจบรรพ
กายานุปัสสนา ปฏิกูลมนสิการบรรพ ธัมมานุปัสสนา ทุกขสมุทัยอริยสัจ
กายานุปัสสนา ธาตุมนสิการบรรพ ธัมมานุปัสสนา ทุกขนิโรธอริยสัจ
กายานุปัสสนา นวสีวถิกาบรรพ ธัมมานุปัสสนา ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
เวทนานุปัสสนา อานิสงส์ของการเจริญสติปัฏฐาน ๔
จิตตานุปัสสนา บทสวด ปฏิจจสมุปบาท

 

 กลับสู่หน้าหลัก