พระพุทธศาสนสุภาษิต

๕ . โกธวรรค คือ หมวดโกรธ

๘๐. น หิ สาธุ โกโธ.
ความโกรธไม่ดีเลย .
ขุ . ชา. ฉกฺก. ๒๗/ ๑๘๘.

๘๑ . โกโธ สตฺถมลํ โลเก.
ความโกรธเป็นดังสนิมศัสตราในโลก .
สํ . ส. ๑๕/ ๖๐.

๘๒ . อนตฺถชนโน โกโธ.
ความโกรธก่อความพินาศ .
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙.

๘๔ . อนฺธตมํ ตทา โหติ ยํ โกโธ สหเต นรํ.
ความโกรธครอบงำนรชนเมื่อใด ความมืดมนย่อมมีเมื่อนั้น.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙. ขุ. มหา. ๒๙/ ๑๘.

๘๕ . อปฺโป หุตฺวา พหุ โหติ วฑฺฒเต โส อขนฺติโช.
ความโกรธน้อยแล้วมาก มันเกิดจากความไม่อดทนจึงทวีขึ้น.
ขุ . ชา. ทสก. ๒๗/ ๒๗๓.

๘๖. โกโธ ทุมฺเมธโคจโร.
ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนมีปัญญาทราม.
ขุ . ชา. ทสก. ๒๗/ ๒๘๐.

๘๗ . โทโส โกธสมุฏฺฐาโน.
โทสะมีความโกรธเป็นสมุฏฐาน .
ขุ . ชา. ทสก. ๒๗/ ๒๗๓.

๘๘ . นตฺถิ โทสสโม คโห.
ผู้จับเสมอด้วยโทสะ ไม่มี.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๔๘.

๘๙ . นตฺถิ โทสสโม กลิ.
ความผิดเสมอด้วยโทสะไม่มี .
ขุ . ธ. ๒๕/ ๔๒.

๙๐ . โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ.
ฆ่าความโกรธได้ อยู่เป็นสุข.
สํ . ส. ๑๕/ ๕๗, ๖๔.

๙๑ . โกธํ ฆตฺวา น โสจติ.
ฆ่าความโกรธได้ ไม่เศร้าโศก.
สํ . ส. ๑๕/ ๕๗, ๖๔.

๙๒ . โกธาภิภูโต กุสลํ ชหาติ.
ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมละกุศลเสีย.
นัย . ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/ ๒๘๖.

๙๓. โกธโน ทุพฺพณฺโณ โหติ.
คนมักโกรธ ย่อมมีผิวพรรณเศร้าหมอง.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๘.

๙๔ . ทุกฺขํ สยติ โกธโน.
คนมักโกรธ ย่อมอยู่เป็นทุกข์.
นัย . องฺ. สตฺตก. ๒๓/ ๙๘.

๙๕ . อโถ อตฺถํ คเหตฺวาน อนตฺถํ ปฏิปชฺชติ.
คนมักโกรธถือเอาประโยชน์แล้ว กลับประพฤติไม่เป็นประโยชน์.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๘.

๙๖ . โกธาภิภูโต ปุริโส ธนชานึ นิคจฺฉติ.
ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมถึงความเสื่อมทรัพย์.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๘.

๙๗ . โกธสมฺมทสมฺมตฺโต อายสกฺยํ นิคจฺฉติ.
ผู้เมามึนด้วยความโกรธ ย่อมถึงความไร้ยศศักดิ์.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๘.

๙๘ . ญาติมิตฺตา สุหชฺชา จ ปริวชฺเชนฺติ โกธนํ.
ญาติมิตรและสหาย ย่อมหลีกเลี่ยงคนมักโกรธ.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙.

๙๙. กุทฺโธ อตฺถํ น ชานาติ.

ผู้โกรธ ย่อมไม่รู้อรรถ.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙.

๑๐๐ . กุทฺโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ.
ผู้โกรธ ย่อมไม่เห็นธรรม.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙.

๑๐๑ . ยํ กุทฺโธ อุปโรเธติ สุกรํ วิย ทุกฺกรํ.
ผู้โกรธจะผลาญสิ่งใด สิ่งนั้นทำยากก็เหมือนทำง่าย.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙.

๑๐๒ . ปจฺฉา โส วิคเต โกเธ อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ.
ภายหลัง เมื่อความโกรธหายแล้ว เขาย่อมเดือดร้อนเหมือนถูกไฟไหม้.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙.

๑๐๓ . โกเธน อภิภูตสฺส น ทีปํ โหติ กิญฺจินํ.
ผู้ถูกความโกรธครอบงำ ย่อมไม่มีที่พำนักสักนิดเดียว.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙.

๑๐๔ . หนฺติ กุทฺโธ สมาตรํ.
ผู้โกรธ ย่อมฆ่ามารดาของตนได้.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙.

๑๐๕. โกธชาโต ปราภโว.
ผู้เกิดความโกรธแล้ว เป็นผู้ฉิบหาย.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๑๐๐.

๑๐๖ . โกธํ ทเมน อุจฺฉินฺเท.
พึงตัดความโกรธด้วยความข่มใจ .
นัย . องฺ. สตฺตก. ๒๓/ ๑๐๐.

๑๐๗ . โกธํ ปญฺ าย อุจฺฉินฺเท.
พึงตัดความโกรธด้วยปัญญา .
นัย - องฺ. สตฺตก. ๒๓/ ๑๐๐.

๑๐๘ . มา โกธสฺส วสํ คมิ.
อย่าลุอำนาจความโกรธ .
ขุ . ชา. ทุก. ๒๗/ ๖๙.


หมวดหมู่ สารบัญ
๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน ๑๘. มัจจุวรรค คือ หมวดมฤตยู
๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท ๑๙. มิตตวรรค คือ หมวดมิตร
๓. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม ๒๐. ยาจนาวรรค คือ หมวดขอ
๔ . กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส ๒๑. ราชวรรค คือ หมวดพระราชา
๕ . โกธวรรค คือ หมวดโกรธ ๒๒. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา
๖ . ขันติวรรค คือ หมวดอดทน ๒๓. วิริยวรรค คือ หมวดเพียร
๗ . จิตตวรรค คือ หมวดจิต ๒๔. เวรวรรค คือ หมวดเวร
๘ . ชยวรรค คือ หมวดชนะ ๒๕. สัจจวรรค คือ หมวดความสัตย์
๙. ทานวรรค คือ หมวดทาน ๒๖. สติวรรค คือ หมวดสติ
๑๐ . ทุกขวรรค คือ หมวดทุกข์ ๒๗. สัทธาวรรค คือ หมวดศรัทธา
๑๑ . ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม ๒๘. สันตุฏฐิวรรค คือ หมวดสันโดษ
๑๒. ปกิณณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตล็ด ๒๙. สมณวรรค คือ หมวดสมณะ
๑๓. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา ๓๐. สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี
๑๔. ปมาทวรรค คือ หมวดประมาท ๓๑. สีลวรรค คือ หมวดศีล
๑๕. ปาปวรรค คือ หมวดบาป ๓๒. สุขวรรค คือ หมวดสุข
๑๖. ปุคคลวรรค คือ หมวดบุคคล ๓๓. เสวนาวรรค คือ หมวดคบหา
๑๗. ปุญญวรรค คือ หมวดบุญ ๓๔. หมวด คน


         
อักษรย่อบอกนามคัมภีร์
องฺ. อฏฺฐก. องฺคุตฺตรนิกาย   อฏฺฐกนิปาต
องฺ. จตุกฺก. องฺคุตฺตรนิกาย   จตุกฺกนิปาต
องฺ. ฉกฺก. องฺคุตฺตรนิกาย   ฉกฺกกนิปาต
องฺ. ติก. องฺคุตฺตรนิกาย   ติกนิปาต
องฺ. ทสก. องฺคุตฺตรนิกาย   ทสกนิปาต
องฺ. ปญฺจก. องฺคุตฺตรนิกาย   ปญฺจกนิปาต
องฺ. สตฺตก. องฺคุตฺตรนิกาย   สตฺตกนิปาต
ขุ. อิติ. องฺคุตฺตรนิกาย   อิติวุตฺตก
ชุ. อุ. ขุทฺทกนิกาย   อุทาน
ขุ. จริยา ขุทฺทกนิกาย   จริยาปิฏก
ขุ. จู. ขุทฺทกนิกาย ชาดก จูฬนิทฺเทส
ขุ. ชา. อฏฺฐก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก อฏฺฐกนิปาต
ขุ. ชา. อสีติ. ขุทฺทกนิกาย ชาดก อสีตินิปาต
ขุ. ชา. เอก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก เอกนิปาต
ขุ. ชา. จตฺตาฬีส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก จตฺตาฬีสนิปาต
ขุ. ชา. จตุกฺก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก จตุกฺกนิปาต
ขุ. ชา. ฉกฺก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ฉกฺกนิปาต
ขุ. ชา. ตึส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ตึสนิปาต
ขุ. ชา. ติก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ติกนิปาต
ขุ. ชา. เตรส ขุทฺทกนิกาย ชาดก เตรสนิปาต
ขุ. ชา. ทฺวาทส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ทฺวาทสนิปาต
ขุ. ชา. ทสก ขุทฺทกนิกาย ชาดก ทสกนิปาต
ขุ. ชา. ทุก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ทุกนิปาต
ขุ. ชา. นวก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก นวกนิปาต
ขุ. ชา. ปกิณฺณก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ปกิณฺณกนิปาต
ขุ. ชา. ปญฺจก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ปญฺจกนิปาต
ขุ. ชา. ปญฺญาส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ปญฺญาสนิปาต
ขุ. ชา. มหา. ขุทฺทกนิกาย ชาดก มหานิปาต
ขุ. ชา. วีสติ. ขุทฺทกนิกาย ชาดก วีสตินิปาต
ขุ. ชา. สฏฺฐี. ขุทฺทกนิกาย ชาดก สฏฺฐีนิปาต
ขุ. ชา. สตฺตก ขุทฺทกนิกาย ชาดก สตฺตกนิปาต
ขุ. ชา. สตฺตติ. ขุทฺทกนิกาย ชาดก สตฺตตินิปาต
ขุ. เถร. ขุทฺทกนิกาย   เถราคาถา
ขุ. เถรี. ขุทฺทกนิกาย   เถรีคาถา
ขุ. ธ. ขุทฺทกนิกาย   ธมฺมปทคาถา
ขุ. ปฏิ. ขุทฺทกนิกาย   ปฏิสมฺภิทามคฺค
ขุ. พุ. ขุทฺทกนิกาย   พุทฺธวํส
ขุ. มหา. ขุทฺทกนิกาย   มหานิทฺเทส
ขุ. วิ. ขุทฺทกนิกาย   วิมานวตฺถุ
ขุ. เปต. ขุทฺทกนิกาย   เปตวตฺถุ
ขุ. สุ. ขุทฺทกนิกาย   สตฺตนิปาต
ที. ปาฏิ. ทีฆนิกาย   ปาฏิกวคฺค
ที. มหา. ทีฆนิกาย   มหาวคฺค
ม. อุป. มชฺฌิมนิกาย   อุปริปณฺณาสก
ม. ม. มชฺฌิมนิกาย   มชฺฌิมปณฺณาสก
วิ. จุล. วินัยปิฏก   จุลฺลวคฺค
วิ. ภิ. วินัยปิฏก   ภิกฺขุณีวิภงฺค
วิ. มหา. วินัยปิฏก   มหาวคฺค
วิ. มหาวิภงฺค. วินัยปิฏก   มหาวิภงฺค
สํ. นิ. สํยุตฺตนิกาย   นิทานวคฺค
สํ. มหา. สํยุตฺตนิกาย   มหาวารวคฺค
สํ. ส. สํยุตฺตนิกาย   สคาถวคฺค