พระพุทธศาสนสุภาษิต

๙ . ทานวรรค คือ หมวดทาน.

๑๔๑ . ทานญฺจ ยุทฺธญฺจ สมานมาหุ.
ท่านว่า ทานและการรบ เสมอกัน.
สํ . ส. ๑๕/ ๒๙. ขุ. ชา. อฏฺฐก. ๒๗/ ๒๔๙.

๑๔๒ . นตฺถิ จิตฺเต ปสนฺนมฺหิ อปฺปกา นาม ทกฺขิณา.
เมื่อจิตเลื่อมใสแล้ว ทักขิณาทานชื่อว่าน้อย ย่อมไม่มี.
ขุ . วิมาน. ๒๖/ ๘๒.

๑๔๓ . วิเจยฺย ทานํ สุคตปฺปสตฺถํ.
การเลือกให้ อันพระสุคตทรงสรรเสริญ.
สํ . ส. ๑๕/ ๓๐. ขุ. ชา. อฏฺฐก. ๒๗/ ๒๔๙. เปต. ๒๖/ ๑๙๗.

๑๔๔ . พาลา หเว นปฺปสํสนฺติ ทานํ.
คนพาลเท่านั้น ย่อมไม่สรรเสริญทาน.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๓๘.

๑๔๕ . ททํ มิตฺตานิ คนฺถติ.
ผู้ให้ ย่อมผูกไมตรีไว้ได้.
สํ . ส. ๑๕/ ๓๑๖.

๑๔๖. ททํ ปิโย โหติ ภชนฺติ นํ พหู.
ผู้ให้ ย่อมเป็นที่รัก คนหมู่มากย่อมคบเขา.
องฺ . ปญฺก. ๒๒/ ๔๓.

๑๔๗ . ททมาโน ปิโย โหติ.
ผู้ให้ ย่อมเป็นที่รัก.
องฺ . ปญฺจก. ๒๒/ ๔๔.

๑๔๘ . สุขสฺส ทาตา เมธาวี สุขํ โส อธิคจฺฉติ.
ปราชญ์ผู้ให้ความสุข ย่อมได้รับความสุข.
องฺ . ปญฺจก. ๒๒/ ๔๕.

๑๔๙ . มนาปทายี ลภเต มนาปํ.
ผู้ให้สิ่งที่ชอบใจ ย่อมได้สิ่งที่ชอบใจ.
องฺ . ปญฺจก. ๒๒/ ๕๕.

๑๕๐ . เสฏฺฐนฺทโท เสฏฺฐมุเปติ ฐานํ.
ผู้ให้สิ่งประเสริฐ ย่อมถึงฐานะที่ประเสริฐ.
องฺ . ปญฺจก. ๒๒/ ๕๖.

๑๕๑ . อคฺคสฺส ทาตา ลภเต ปุนคฺคํ.
ผู้ให้สิ่งที่เลิศ ย่อมได้สิ่งที่เลิศอีก.
องฺ . ปญฺจก. ๒๒/ ๕๖.

๑๕๒ . ททโต ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ.
เมื่อให้ บุญก็เพิ่มขึ้น.
ที . มหา. ๑๐/ ๑๕๙. ขุ. อุ. ๒๕/ ๒๑๕.

๑๕๓. ทเทยฺย ปุริโส ทานํ.
คนควรให้ของที่ควรให้.
ขุ . ชา. สตฺตก. ๒๗/ ๒๑๗.

อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ
อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ.
เมื่อให้ท่านในวัตถุอันเลิศ บุญอันเลิศ อายุ วรรณะ
ยศเกียรติ สุข และกำลังอันเลิศ ก็เจริญ.
( พุทฺธ) ขุ. อิติ. ๒๕/ ๒๙๙.

อคฺคทายี วรทายี เสฏฺฐทายี จ โย นโร
ทีฆายุ ยสวา โหติ ยตฺถ ยตฺถูปปชฺชติ.
ผู้ให้สิ่งที่เลิศ ให้สิ่งที่ดี ให้สิ่งที่ประเสริฐ
ย่อมเป็นผู้มีอายุยืนมียศในภพที่ตนเกิด.
( พุทธ) องฺ ปญฺจก. ๒๒/ ๕๖.

นีหเรเถว ทาเนน ทินฺนํ โหติ สุนิพฺภตํ
ทินฺนํ สุขผลํ โหติ นาทินฺนํ โหติ ตํ ตถา.
พึงนำ ( สมบัติ) ออกด้วยการให้, วัตถุที่ให้แล้วย่อมเป็นอัน
นำออกดีแล้ว , วัตถุทีให้แล้วย่อมมีสุขเป็นผล,
ส่วนวัตถุที่ยังไม่ได้ให้ก็ไม่เป็นอย่างนั้น.
( เทวดา) สํ. ส. ๑๕/ ๔๓.

ยถา วาริวหา ปูรา ปริปูเรนฺติ สาครํ
เอวเมว อิโต ทินฺนํ เปตานํ อุปกปฺปติ.
ห้วงน้ำที่เต็ม ย่อมยังสาครให้เต็มได้ฉันใด,
ทานที่ให้แต่โลกนี้ ย่อมสำเร็จแก่ผู้ละไปแล้วฉันนั้น.
( พุทฺธ) ขุ. ขุ. ๒๕/ ๑๐.

โส จ สพฺพทโท โหติ โย ททาติ อุปสฺสยํ
อมตนฺทโท จ โส โหติ โย ธมฺมมนุสาสติ.
ผู้ใดให้ที่พักอาศัย ผู้นั้นชื่อว่าให้สิ่งทั้งปวง,
ผู้ใดสอนธรรม ผู้นั้นชื่อว่าให้อมตะ.
( พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/ ๔๔.

อเทยฺเยสุ อททํ ทานํ เทยฺเยสุ โย ปเวจฺฉติ
อาปาสุ พฺยสนํ ปตฺโต สหายํ อธิคจฺฉติ.
ผู้ใดไม่ให้ทานในคนที่ไม่ควรให้ ย่อมให้ในคนที่ควรให้.
ผู้นั้นประสบความเสื่อมเพราะอันตราย ย่อมได้สหาย.
( โพธิสตฺต ) ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/ ๑๒๙.

 อเทยฺเยสุ ททํ ทานํ เทยฺเยสุ นปฺปเวจฺฉติ
อาปาสุ พฺยสนํ ปตฺโต สหายํ นาธิคจฺฉติ.
ผู้ใดให้ทานในบุคคลที่ไม่ควรให้ ไม่ให้ในคนที่ควรให้.
ผู้นั้นถึงความเสื่อมเพราะอันตราย ย่อมไม่ได้สหาย.
( โพธิสตฺต ) ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/ ๑๒๙.

อนฺนโท พลโท โหติ วตฺถโท โหติ วณฺณโท
ยานโท สุขโท โหติ ทีปโท โหติ จกฺขุโท.
ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำลัง ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ
ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข ผู้ให้ประทีปโคมไฟ
ชื่อว่าให้จักษุ.
( พุทฺธ ) สํ. ส. ๑๕/ ๔๔.

ปนาปทายี ลภเต มนาปํ อคฺคสฺส ทาตา ลภเต ปุนคฺคํ
วรสฺส ทาตา วรลาภี จ โหติ เสฏฺฐนฺทโท เสฏฺฐมุเปติฐานํ.
ผู้ให้ของชอบใจ ย่อมได้ของชอบใจ ผู้ให้ของเลิศ
ย่อมได้ของเลิศ ผู้ให้ของดี ย่อมได้ของดี
ผู้ให้ของประเสริฐ ย่อมถึงฐานะอันประเสริฐ.
( พุทฺธ ) องฺ. ปญฺจก. ๒๒/ ๕๖.



หมวดหมู่ สารบัญ
๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน ๑๘. มัจจุวรรค คือ หมวดมฤตยู
๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท ๑๙. มิตตวรรค คือ หมวดมิตร
๓. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม ๒๐. ยาจนาวรรค คือ หมวดขอ
๔ . กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส ๒๑. ราชวรรค คือ หมวดพระราชา
๕ . โกธวรรค คือ หมวดโกรธ ๒๒. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา
๖ . ขันติวรรค คือ หมวดอดทน ๒๓. วิริยวรรค คือ หมวดเพียร
๗ . จิตตวรรค คือ หมวดจิต ๒๔. เวรวรรค คือ หมวดเวร
๘ . ชยวรรค คือ หมวดชนะ ๒๕. สัจจวรรค คือ หมวดความสัตย์
๙. ทานวรรค คือ หมวดทาน ๒๖. สติวรรค คือ หมวดสติ
๑๐ . ทุกขวรรค คือ หมวดทุกข์ ๒๗. สัทธาวรรค คือ หมวดศรัทธา
๑๑ . ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม ๒๘. สันตุฏฐิวรรค คือ หมวดสันโดษ
๑๒. ปกิณณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตล็ด ๒๙. สมณวรรค คือ หมวดสมณะ
๑๓. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา ๓๐. สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี
๑๔. ปมาทวรรค คือ หมวดประมาท ๓๑. สีลวรรค คือ หมวดศีล
๑๕. ปาปวรรค คือ หมวดบาป ๓๒. สุขวรรค คือ หมวดสุข
๑๖. ปุคคลวรรค คือ หมวดบุคคล ๓๓. เสวนาวรรค คือ หมวดคบหา
๑๗. ปุญญวรรค คือ หมวดบุญ ๓๔. หมวด คน


         
อักษรย่อบอกนามคัมภีร์
องฺ. อฏฺฐก. องฺคุตฺตรนิกาย   อฏฺฐกนิปาต
องฺ. จตุกฺก. องฺคุตฺตรนิกาย   จตุกฺกนิปาต
องฺ. ฉกฺก. องฺคุตฺตรนิกาย   ฉกฺกกนิปาต
องฺ. ติก. องฺคุตฺตรนิกาย   ติกนิปาต
องฺ. ทสก. องฺคุตฺตรนิกาย   ทสกนิปาต
องฺ. ปญฺจก. องฺคุตฺตรนิกาย   ปญฺจกนิปาต
องฺ. สตฺตก. องฺคุตฺตรนิกาย   สตฺตกนิปาต
ขุ. อิติ. องฺคุตฺตรนิกาย   อิติวุตฺตก
ชุ. อุ. ขุทฺทกนิกาย   อุทาน
ขุ. จริยา ขุทฺทกนิกาย   จริยาปิฏก
ขุ. จู. ขุทฺทกนิกาย ชาดก จูฬนิทฺเทส
ขุ. ชา. อฏฺฐก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก อฏฺฐกนิปาต
ขุ. ชา. อสีติ. ขุทฺทกนิกาย ชาดก อสีตินิปาต
ขุ. ชา. เอก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก เอกนิปาต
ขุ. ชา. จตฺตาฬีส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก จตฺตาฬีสนิปาต
ขุ. ชา. จตุกฺก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก จตุกฺกนิปาต
ขุ. ชา. ฉกฺก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ฉกฺกนิปาต
ขุ. ชา. ตึส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ตึสนิปาต
ขุ. ชา. ติก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ติกนิปาต
ขุ. ชา. เตรส ขุทฺทกนิกาย ชาดก เตรสนิปาต
ขุ. ชา. ทฺวาทส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ทฺวาทสนิปาต
ขุ. ชา. ทสก ขุทฺทกนิกาย ชาดก ทสกนิปาต
ขุ. ชา. ทุก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ทุกนิปาต
ขุ. ชา. นวก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก นวกนิปาต
ขุ. ชา. ปกิณฺณก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ปกิณฺณกนิปาต
ขุ. ชา. ปญฺจก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ปญฺจกนิปาต
ขุ. ชา. ปญฺญาส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ปญฺญาสนิปาต
ขุ. ชา. มหา. ขุทฺทกนิกาย ชาดก มหานิปาต
ขุ. ชา. วีสติ. ขุทฺทกนิกาย ชาดก วีสตินิปาต
ขุ. ชา. สฏฺฐี. ขุทฺทกนิกาย ชาดก สฏฺฐีนิปาต
ขุ. ชา. สตฺตก ขุทฺทกนิกาย ชาดก สตฺตกนิปาต
ขุ. ชา. สตฺตติ. ขุทฺทกนิกาย ชาดก สตฺตตินิปาต
ขุ. เถร. ขุทฺทกนิกาย   เถราคาถา
ขุ. เถรี. ขุทฺทกนิกาย   เถรีคาถา
ขุ. ธ. ขุทฺทกนิกาย   ธมฺมปทคาถา
ขุ. ปฏิ. ขุทฺทกนิกาย   ปฏิสมฺภิทามคฺค
ขุ. พุ. ขุทฺทกนิกาย   พุทฺธวํส
ขุ. มหา. ขุทฺทกนิกาย   มหานิทฺเทส
ขุ. วิ. ขุทฺทกนิกาย   วิมานวตฺถุ
ขุ. เปต. ขุทฺทกนิกาย   เปตวตฺถุ
ขุ. สุ. ขุทฺทกนิกาย   สตฺตนิปาต
ที. ปาฏิ. ทีฆนิกาย   ปาฏิกวคฺค
ที. มหา. ทีฆนิกาย   มหาวคฺค
ม. อุป. มชฺฌิมนิกาย   อุปริปณฺณาสก
ม. ม. มชฺฌิมนิกาย   มชฺฌิมปณฺณาสก
วิ. จุล. วินัยปิฏก   จุลฺลวคฺค
วิ. ภิ. วินัยปิฏก   ภิกฺขุณีวิภงฺค
วิ. มหา. วินัยปิฏก   มหาวคฺค
วิ. มหาวิภงฺค. วินัยปิฏก   มหาวิภงฺค
สํ. นิ. สํยุตฺตนิกาย   นิทานวคฺค
สํ. มหา. สํยุตฺตนิกาย   มหาวารวคฺค
สํ. ส. สํยุตฺตนิกาย   สคาถวคฺค